BBC เตือนทั่วโลก กระทรวงสาธารณสุขไทยประกาศเฝ้าระวัง.คล้ายไวรัส SARs
![]() |
BBC เตือนทั่วโลก กระทรวงสาธารณสุขไทยประกาศเฝ้าระวัง.คล้ายไวรัส SARs |
ไวรัสยังไม่ทราบชนิดทำให้เกิดปอดอักเสบรุนแรงที่จีน คล้ายไวรัส SARs
1. สรุปสถานการณ์ #โรคปอดอักเสบสงสัยจากSARS ประเทศจีน
3 มกราคม 2563 กองระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
3 มกราคม 2563 กองระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค
จากการรายงานข่าวของสานักข่าวหลายแห่ง
พบผู้ป่วยโรคปอดอักเสบ จากเชื้อไวรัส ที่อาจมีความ เชื่อมโยงกับ SARS (Severe Acute Respiratory Syndrome) ในเมืองอู่ฮั่น มณฑลหูเป่ย์ ทางตอนกลางของ ประเทศจีน ในเดือนธันวาคมที่ผ่านมา จานวน 27 ราย ซึ่งมีอาการรุนแรงจำนวน 7ราย
พบผู้ป่วยโรคปอดอักเสบ จากเชื้อไวรัส ที่อาจมีความ เชื่อมโยงกับ SARS (Severe Acute Respiratory Syndrome) ในเมืองอู่ฮั่น มณฑลหูเป่ย์ ทางตอนกลางของ ประเทศจีน ในเดือนธันวาคมที่ผ่านมา จานวน 27 ราย ซึ่งมีอาการรุนแรงจำนวน 7ราย
โดยมีอาการไข้ บางราย มีอาการหายใจไม่สะดวก ทุกรายมีการแยกรักษา และยังไม่มีรายงานการแพร่เชื้อจากคนสู่คน ซึ่งผู้ป่วยมี ความสัมพันธ์กันคือประวัติการไปตลาดอาหารทะเล ซึ่งนอกจากอาหารทะเลแล้วยังมีการขายทั้งแมว สุนัข งู และสัตว์ป่าอื่นๆด้วย
ท้ังนี้สาเหตุอยู่ระหว่างการสอบสวนโรค ขณะเดียวกันมีรายงานข่าวผู้ป่วยโรคปอดอักเสบ ท่ียังไม่สามารถระบุสาเหตุได้ในฮ่องกงจานวน 2 ราย ซึ่งเดินทางไปเมืองอู่ฮั่น
รายแรกมีไข้ และอาการของ ทางเดินหายใจส่วนบน ตรวจไม่พบ SARS ไข้หวัดใหญ่ หรือไข้หวัดนก ไม่มีประวัติไปตลาดสด รายท่ีสองไม่มี ไข้ หรืออาการปอดอักเสบ
สาหรับประเทศจีน เคยมี SARS ระบาดเมื่อปี 2546 ซึ่งทาให้มีผู้เสียชีวิตถึง 349 ราย และในฮ่องกง อีก 299 ราย และมีผู้ติดเชื้อโลกมากถึง 8,000 ราย
นอกจากน้ีในประเทศจีนยังพบการรายงานการติดเชื้อไวรัสไข้หวัดนก
ตั้งแต่ปี 2556 ทั้งหมด 5 สายพันธ์ุ ได้แก่ H7N9 H9N2 H7N4 H5N1 และ H5N6 ได้แก่
ไข้หวัดนกสายพันธุ์ H7N9 มีการระบาด เมื่อเดือนมีนาคม 2556 มีผู้ป่วยยืนยัน 1,568 ราย เสียชีวิต 615 ราย มีการระบาดทั้งส้ิน 6 ระลอก
สำหรับปี 2562 (ข้อมูล ณ วันท่ี 12 ธันวาคม)
พบผู้ป่วยยืนยัน 1 ราย เป็น ชายอายุ 82 ปี เริ่มป่วยเมื่อวันท่ี 18 มีนาคม 2562 รายงานจากมณฑลกานซู่ ประเทศจีน แต่ผู้ป่วยน่าจะสัมผัส โรคจากพ้ืนท่ีในเขตปกครองตนเองมองโกเลีย
พบผู้ป่วยยืนยัน 1 ราย เป็น ชายอายุ 82 ปี เริ่มป่วยเมื่อวันท่ี 18 มีนาคม 2562 รายงานจากมณฑลกานซู่ ประเทศจีน แต่ผู้ป่วยน่าจะสัมผัส โรคจากพ้ืนท่ีในเขตปกครองตนเองมองโกเลีย
ไข้หวัดนกสายพันธ์ุ H9N2 พบผู้ป่วยยืนยันปี 2558 28 ราย
ปี 2561 มีรายงานผู้ป่วยยืนยัน 7 ราย และ ปี 2562 พบผู้ป่วยยืนยันโรคไข้หวัดนกสายพันธ์ุ H9N2 8 ราย (จากจีน 6 ราย โอมาน 1 ราย และอินเดีย 1 ราย)
สำหรับไข้หวัดนกสายพันธ์ุ H7N4 พบผู้ป่วยยืนยันราย สุดท้ายเดือนกุมภาพันธ์ 2561 1 ราย
ไข้หวัดนกสายพันธุ์ H5 ในปี 2557 มีผู้ป่วยยืนยันไข้หวัดนกสายพันธ์ุ H5N6 24 ราย เสียชีวิต 7 ราย รายล่าสุดป่วยเม่ือวันที่ 18 สิงหาคม 2562 เป็นหญิง อายุ 59 ปีจากปักก่ิง และไข้หวัดนกสายพันธุ์ H5N1 ซ่ึงเกิดการระบาดในปี 2546 มีผู้ป่วย 861 ราย เสียชีวิต 455 ราย ในปี 2562 มีผู้ป่วยยืนยัน 1 ราย จากประเทศเนปาล
2. ประเทศไทย #ไม่เคยมีการระบาดของSARS แต่มีบินมารักษาเมื่อปี 2546
แต่มีผู้ป่วยไข้หวัดนก ในปี 2547-2549 จานวน 25 ราย
เสียชีวิต 17 ราย
เสียชีวิต 17 ราย
สาหรับไข้หวัดใหญ่ ในปี 2562
(1 มค.- 24 ธค 62) จากรง 506 มีผู้ป่วย 378,881 ราย เสียชีวิต 29 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 571.45 ต่อประชากรแสนคน CFR=0.01%
(1 มค.- 24 ธค 62) จากรง 506 มีผู้ป่วย 378,881 ราย เสียชีวิต 29 ราย คิดเป็นอัตราป่วย 571.45 ต่อประชากรแสนคน CFR=0.01%
เมื่อเปรียบเทียบพบว่า สูงกว่าจานวนผู้ป่วยปีท่ีแล้วและค่ามัธยฐาน 1.6 เท่า ส่วนใหญ่พบไข้หวัดใหญ่สายพันธุ์ เอ
ถึงแม้ประเทศไทยสามารถป้องกันการแพร่กระจายของ SARS ได้สาเร็จเมื่อปี 2546 แต่เคยมีการ ระบาดของไข้หวัดนก และมีควบคุมโรคจนสาเร็จ และ มีระบบเฝ้าระวังมาโดยตลอด
แต่ในสถานการณ์ ปัจจุบันประเทศจีนยังพบไข้หวัดนก และมีผู้ป่วยสงสัย SARS และมีนักท่องเที่ยวจีน หรือต่างชาติที่เดินทาง ระหว่างไทย จีน มีจำนวนมากขึ้น ทำให้มีความเสี่ยงต่อการแพร่กระจายเชื้อเข้ามาเมืองไทยได้ง่ายกว่าเมื่อการ ระบาดครั้งก่อน
และจากข้อมูลสายการบินจากเมืองอู่ฮั่น มายังสนามบินสุวรรณภูมิ พบว่ามีหลายสายการบินที่ ทำการบินอยู่ ทั้งสนามบินสุวรรณภูมิ คือ China Southern Airline จานวน 4เที่ยวและ Maldivian จานวน 1เที่ยว
ผู้โดยสารประมาณ 170 คนต่อเที่ยว และสนามบินดอนเมืองคือ Thai Air Asia จานวน 2 เที่ยว
ผู้โดยสารเที่ยวละ 160 คน สรุป มีผู้โดยสารที่เสี่ยงจานวน 1170 คนต่อวัน เมื่อนำมาเปรียบเทียบกับการพบ ผู้ป่วยสงสัย SARS ในประเทศจีน และโอกาสพบผู้ป่วยโรค SARS ในประเทศไทยจากการเดินทางเข้ามาทาง สนามบินดอนเมือง สุวรรณภูมิ เชียงใหม่ และสุราษฎรธานี
พบว่ามีโอกาสในการพบผู้ป่วยเพียงร้อยละ 2 (จาก โปรแกรม Insight) แต่อย่างไรก็ตาม ประเทศไทยยังมีความเสี่ยงในการท่ีจะมีการแพร่กระจายเชื้อ SARS เข้ามาได้
จึงควรกำหนดมาตรการในการควบคุมอย่างเข้มข้น
3. มาตรการป้องกันของประเทศไทย มีการกำหนดให้ SARS เป็นโรคติดต่ออันตราย ท่ีต้องมีการเฝ้า ระวังรายงานสอบสวนและควบคุมโรคอย่างเข้มข้น
กำหนดมาตรการเฝ้าระวังในผู้ป่วยสงสัยทั้งการเฝ้า ระวังในผู้ป่วยโรคปอดอักเสบ
การเฝ้าระวังทางห้องปฏิบัติการ การเฝ้าระวังในด่านควบคุมโรคของท่าอากาศ ยาน มีการเตรียมความพร้อมทางห้องปฏิบัติการ การเตรียมความพร้อมของทีมควบคุมโรคติดต่ออันตราย ดัง ตาราง และ รายละเอียดดังนี้
1. แนวทางในการเฝ้าระวัง และสอบสวนโรค SARS ดังตาราง
2. การเฝ้าระวังจากนักท่องเที่ยว ที่เดินทางมาจากเมืองเมืองอู่ฮั่น ซึ่งมีสายการบินจากเมืองอู่ฮ่ัน มายัง สนามบินสุวรรณภูมิ และดอนเมืองหลายเที่ยวบิน ซ่ึงดาเนินการคัดกรองโดยด่านควบคุมโรคระหว่างประเทศ
3. การเตรียมพร้อมของทีมสอบสวนโรคติดต่ออันตราย ของทุกจังหวัด และในส่วนกลางเตรียมไว้ ท้ังหมด 8 ทีม
4. การสื่อสารความเสี่ยงสาหรับประชาชนที่เดินทางไปต่างประเทศ เพ่ือป้องกันตนเอง รวมทั้งผู้ที่เดินทางกลับเข้าประเทศไทยเพื่อเฝ้าระวังอาการ
อย่าตกใจจนเกินไป แต่ควรรับรู้ และเตรียมการป้องกัน
แหล่งข้อมูล:
Coronavirus as a possible cause of severe acute respiratory syndrome
Coronavirus as a possible cause of severe acute respiratory syndrome
https://www.sciencedirect.com/.../pii/S0140673603130772
ผศ.นพ.สุรพล กอบวรรธนะกุล, SARS (Severe Acute Respiratory Syndrome)
https://www.si.mahidol.ac.th/.../Others/Hot_issues/sars.asp
กรมควบคุมโรคเฝ้าระวังเข้ม-คัดกรองคนเดินทางจากอู่ฮั่น จีน ป้องกันโรคปอดอักเสบ
https://www.hfocus.org/content/2020/01/18281
เฝ้าระวัง โรคระบาดในจีนยังไม่ทราบชนิด หวั่นซ้ำรอยโรคซาร์ส
https://thethaiger.com/.../%E0%B9%80%E0%B8%9D%E0%B9%89%E0...
China pneumonia outbreak: Mystery virus probed in Wuhan
https://www.bbc.co.uk/news/world-asia-china-50984025